ต้นส้มโอ
หมวดหมู่: พฤกษศาสตร์
ต้นสัก
[youtube https://www.youtube.com/watch?v=1OV3MhFDirc&autoplay=1&w=560&h=315]
ต้นสัก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Tectona grandis
ต้นไทรย้อย
http://[youtube https://www.youtube.com/watch?v=zjWqo8o0bFM&autoplay&w=560&h=315]
ต้นไทรย้อย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annulata
ชื่อวงศ์: MORACEAE
ชื่อสามัญ: Banyan Tree
ลักษณะ เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ลำต้นครงเเตกกิ่งกานเป็นพุ่มทึบ มีรากอากาศ
ประเภทใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ เป็นรูปวงรี ใบอ่อนสีเขียว ใบเเก่มากที่ใกล้ร่วงสีเหลือง
ดอก เป็นช่อ เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปร่างกลมคล้ายผลออกเป็นคู่ที่ซอกใบเเยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน
ผล ลูกกลมสุกสีเเดงอมม่วง ไม่สุกสีเขียว ออกเป็นคู่ในซอกใบ
การดูเเลรักษา ชอบดินร่วนซุยอยู่ได้ในเเดดอ่อนถึงกลางเเจ้ง ต้องการน้ำปานกลางถึงมาก
การขยายพันธ์ การปักชำ การตอนกิ่ง การเพาะเมล็ด อาศัยอยู่บนบก
สรรพคุณ รากอากาศขับถ่ายปัสสาวะเเก้ไตพิการ
ถิ่นกำเนิด ในอินเดียเเละภูมิภาคเอเชีย
ฤดูการออกดอก เดือนกุมภาพันธ์
การใช้ประโยชน์ เป็นไม้ประดับ ผลสุกเป็นอาหารของนก เป็นสมุนไพร
นางสาวกัณฐิกา มูลสารี เลขที่ 24
นายวีรวิชย์ วัยยุวัฒน์ เลขที่ 15
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5
ต้นอโศกอินเดีย
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Polythia longifolia
ชื่อวงศ์ : ANNONACEAE.
ชื่อสามัญ : The Mast Tree
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : อโศกเซนต์คาเบรียล , อโศกอินเดีย
ถิ่นกำเนิด : ประเทศอินเดียและศรีลังกา
การกระจายพันธ์ : ทั่วทุกภาคของประเทศไทย
นิเวศวิทยา : ขึ้นได้ในดินทั่วไป
เวลาออกดอก : ระหว่างเดือนมีนาคม–เดือนเมษายน
การขยายาพันธ์ : ด้วยเมล็ดหรือตอนกิ่ง
การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นไม้ประดับ
ประวัติพันธุ์ไม้(การนำเข้ามาปลูกในประเทศไทย) : ภรดา ยงห์น แมรี่ เป็นผู้นำเข้ามาในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2500 จากประเทศอินเดีย
ลักษณะวิสัย : ไม้ต้น
ถิ่นอาศัย : พืชบก
ลำต้น : ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้น : ขรุขระ สีน้ำตาลแก่
ยาง : ไม่มี
ชนิดของใบ : ใบประกอบ แบบขนนก ขนนกปลายคี่ สีเขียวแก่ ขนาดใบ กว้าง 4 ซม. ยาว 23 ซม.
ลักษณะพิเศษของใบ : ใบรูปหอก แนวยาว สีเขียวเข้ม ขอบใบเป็นคลื่น
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง : สลับ
รูปร่างแผ่นใบ : รูปใบหอก
ปลายใบ : ยาวคล้ายหาง
โคนใบ : มน
ขอบใบ : เป็นคลื่น
ดอก : ดอกช่อ ช่อกระจุก
ตำแหน่งออกของดอก : ตามลำต้นหรือกิ่ง
กลีบเลี้ยง : แยกออกจากกัน จำนวน 5 กลีบ สีขาว
กลีบเลี้ยง : โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก สี เขียวอ่อน
กลีบดอก : โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 6 แฉก สี เขียวอ่อน ดาหกแฉก
เกสรเพศผู้ : จำนวน 2 อัน สี เหลือง
เกสรเพศเมีย : จำนวน 1 อัน สี เหลือง
รังไข่ : รังไข่เหนือวงกลีบ
กลิ่น : ไม่มี
ชนิดของผล : ผลกลุ่ม ผลสด ผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด
สีของผล : ผลอ่อน สีเขียวอ่อน ผลแก สีเขียวเข้ม
รูปร่างผล : รี
ลักษณะพิเศษของผล : เมล็ดเล็ก
เมล็ด : จำนวน 1 เมล็ด/ผล สี เขียว
รูปร่างเมล็ด : กลม
ต้นโพธิ์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficus religiosa
สรรพคุณของต้นโพธิ์ : จผลมีสรรพคุณเป็นยาแก้โรคหัวใจ
ประโยชน์ของต้นโพธิ์ : ผลอ่อนใช้รับประทานเป็นอาหารได้
ถิ่นกำเนิด : ประเทศอินเดีย
การขยายพันธู์ : การตอนกิ่ง
เวลาออกผล : มีทุกฤดู
การดูแลรักษา : รดน้ำ ใส่ปุ๋ยคอก
ชื่ออื่น : โพ โพ
ใบ : ศรีมหาโพเรียงเวียนสลับถี่ ใบเดี่ยว รูปหัวใจ
ดอก : ดอกสีเหลืองนวล ออกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกแยกเพศ
ผล : ผลรวมรูปกลม ขนาดเล็ก
ต้นไม้ 9
ต้นไม้ 9 klklldsjgdfjg;dflg;dl;fgdfg;ldfg
dfkgl;dfkg;ldkfg;lkdl;fg
cvdklfgmcvmb.cmb.c,mdf
ต้นไม้ 8
ต้นไม้ 8
ต้นไม้ 7
ต้นไม้ 7
ต้นไม้ 6
ต้นไม้ 6
ต้นไม้ 5
ต้นไม้ 5